The Development of Information Management System Model for Patient Referral using ThaiRefer Program

Teerin Ketvichit, Surasak Mungsing

Abstract


บทความนี้นำเสนอการวิจัยเชิงทดลองที่มีวัตถุประสงค์สามประการ ได้แก่  1) เพื่อศึกษาบริบทของการจัดการระบบข้อมูลในปัจจุบันของการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาลในภาคเหนือในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข; 2) เพื่อปรับปรุงระบบการจัดการสารสนเทศด้วย       ตัวแบบระบบจัดการสารสนเทศที่เหมาะสมมากขึ้นและทันสมัยมากขึ้น; และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจตัวแบบที่พัฒนาขึ้น จากการศึกษาพบว่าตัวแบบระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการที่พัฒนาขึ้น สามารถเข้าถึงสารสนเทศและข้อมูลทางการแพทย์สำหรับการส่งต่อผู้ป่วยได้ผ่านเว็บเซอร์วิส ซึ่งมีโปรแกรมตัวกลางหรือมิดเดลแวร์ที่ถูกออกแบบมาสำหรับกระบวนการเตรียมข้อมูลเพื่อการส่งต่อจากฐานข้อมูลระบบบริหารการจัดการโรงพยาบาล ทำให้เกิดการเชื่อมโยงกันของฐานข้อมูลของระบบบริหารจัดการโรงพยาบาล  ความพึงพอใจของระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นตามตัวแบบนี้ ประเมินโดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบการส่งต่อของสถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุข ที่เข้าร่วมโครงการ ผลการประเมินพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากและเห็นว่าตัวแบบนี้เป็นประโยชน์สำหรับการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล

คำสำคัญ : การจัดการ, ระบบส่งต่อ, ความพึงพอใจ, โรงพยาบาล, การเชื่อมโยงข้อมูล


Full Text:

PDF

References


“ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2545” (2545, 13 กันยายน) ราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป, เล่ม 119 ตอนพิเศษ 86 หน้า 1-23

Warren, J., and others. (2004). Guideliness for the inter - hospital and intrahospital transport of Critically ill patients.

Toman, Ann., and Ferguson, Perry. (2004). How Communication and Co-operation Eased a Patient Transport Crisis. Healthcare Quarterly. 7, 4: 106-107.

Dunn, M, J, G., Gwinnutt, C, L., and Gray, A, J. (2007). Critical care in the emergency department: patient transfer. Emergency Medicine Journal. 24, 1 (September): 40-44.

Koontz, Harold, and Weihrich, Heinz. (1988). Management. 9th ed. Singapore: McGraw-Hill Book Co.

กรรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คัมภีร์คณิตศาสตร์ฉบับสมบูรณ์,กรุงเทพฯ: พ.ศ.2551.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.